หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564)
- รหัสและชื่อหลักสูตร
รหัส : 25500211107265
ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Nutrition and Dietetics - ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : วิทยาศาสตรบัณฑิต (โภชนาการและการกำหนดอาหาร)
(ชื่อย่อ) : วท.บ. (โภชนาการและการก าหนดอาหาร)
ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Bachelor of Science (Nutrition and Dietetics)
(ชื่อย่อ) : B.Sc. (Nutrition and Dietetics) - วิชาเอก
ไม่มี - จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 136 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรคุณวุฒิ ระดับที่ 2 ปริญญาตรี(หลักสูตร 4 ปี)
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
ไม่มี
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการกำหนดอาหาร
- สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
6.1 เป็นหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 ปรับปรุงจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาโภชนศาสตร์
การก าหนดอาหาร และอาหารปลอดภัย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
6.2 เริ่มใช้ในภาคต้น ปีการศึกษา 2564 เป็นต้นไป
6.3 คณะกรรมการประจ าคณะสาธารณสุขศาสตร์ พิจารณาเห็นชอบหลักสูตรนี้ในการประชุมครั้งที่
2/2564 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564
6.4 คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ให้ความเห็นชอบหลักสูตรนี้ในการประชุมครั้งที่ .
4/2564 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2564
6.5 สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2564 - ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตาม มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2566 และเป็นหลักสูตรที่สามารถยื่นค าขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็น
ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการก าหนดอาหาร - อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา
8.1 นักกำหนดอาหาร/นักโภชนาการในโรงพยาบาล
8.2 นักวิชาการด้านโภชนาการและนักวิชาการสาธารณสุข ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกระทรวง
สาธารณสุข
8.3 ครูทางด้านโภชนาการและคหกรรมศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
8.4 นักวิจัย/พนักงานในสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
8.5 นักวิจัย/ผู้ดำเนินการในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
8.6 ประกอบกิจการส่วนตัวทางด้านอาหารและโภชนาการ
ค่าใช้จ่าย
- จำนวนหน่วยกิต
ปีที่ 1 42 หน่วยกิต
ปีที่ 2 43 หน่วยกิต
ปีที่ 3 39 หน่วยกิต
ปีที่ 4 12 หน่วยกิต
รวม 136 หน่วยกิต - ค่าธรรมเนียมการศึกษา แบบเหมาจ่าย ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท
- ค่าใช้จ่ายสำหรับนิสิต/คน/ปี 30,000 บาท
- ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรต่อนิสิต เท่ากับ 120,000 บาท
รายวิชา
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการและการก าหนดอาหาร มีรายวิชาตามโครงสร้าง
หลักสูตร ดังนี้
- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
(ดังรายละเอียดในเอกสารแนบ ข) - หมวดวิชาเฉพาะด้าน
2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 15 หน่วยกิต
0202 100 เคมีทั่วไป 3(3-0-6)
General Chemistry
0202 190 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1(0-3-6)
General Chemistry Laboratory
0203 110 ชีววิทยา 1 3(3-0-6)
Biology 1
0203 191 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 1(0-3-1)
Biology Laboratory 1
0204 100 ฟิสิกส์ทั่วไป 3(3-0-6)
General Physics
1502 108 ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน 1(0-3-0)
Basic Biochemistry Laboratory
1502 109 ชีวเคมีพื้นฐาน 3(3-0-6)
Fundamental Biochemistry
2.2 กลุ่มวิชาชีพพื้นฐานทางสาธารณสุข 19 หน่วยกิต
1499 101 จุลชีววิทยาส าหรับงานสาธารณสุข 3(2-2-5)
Microbiology for Public Health
1499 103 กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาพื้นฐานส าหรับงานสาธารณสุข 3(2-2-5)
Fundamental Anatomy and Physiology for Public Health
1499 206 ชีวสถิติ 3(3-0-6)
Biostatistics
1402 201 โภชนาการมนุษย์ 3(3-0-6)
Human Nutrition
1402 202 จุลชีววิทยาอาหาร 2(1-2-3)
Food Microbiology
1402 203 เคมีวิเคราะห์และเคมีองค์ประกอบในอาหาร 3(2-2-5)
Analytical Chemistry and Chemistry of Food Components
1402 204 เคมีคลินิกส าหรับโภชนาการและการก าหนดอาหาร 2(2-0-4)
Clinical Chemistry for Nutrition and Dietetics
2.3 กลุ่มวิชาชีพทางสาธารณสุข 18 หน่วยกิต
1499 201 ระบาดวิทยา 3(3-0-6)
Epidemiology
1499 202 อนามัยสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Environmental Health
1499 204 โภชนาการชุมชน 3(2-2-5)
Community Nutrition
1499 205 การป้องกันและควบคุมโรค 3(3-0-6)
Disease Prevention and Control
1499 301 สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ 3(2-2-5)
Health Education and Behavioral Science
1499 303 การบริหารงานสาธารณสุข 3(3-0-6)
Public Health Administration
2.4 กลุ่มวิชาชีพเฉพาะสาขาโภชนาการและก าหนดอาหาร 38 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาโภชนาการ (22 หน่วยกิต)
1402 101 วิทยาศาสตร์การอาหารเบื้องต้น 3(3-0-6)
Introduction to Food Science
1402 205 โภชนาการในวัยต่าง ๆ 3(3-0-6)
Nutrition in Life Cycle
1402 206 การประเมินภาวะโภชนาการ 3(2-2-5)
Nutrition Assessment
1402 301 โภชนาการคลินิก 2(2-0-4)
Clinical Nutrition
1402 304 กระบวนการผลิตอาหารปลอดภัย 3(2-2-5)
Manufacturing Process of Safety Food
1402 306 ความปลอดภัยอาหารและสุขาภิบาลอาหาร 2(1-2-3)
Food Safety and Sanitation
1402 307 การจัดการระบบการบริการอาหารเพื่อโภชนาการ 3(2-2-5)
Food Service System Management
1402 308 การจัดการธุรกิจการตลาดอาหารสุขภาพในชุมชน 3(2-2-5)
Business Management for Health Food Marketing
in Community
(2) กลุ่มวิชาก าหนดอาหาร (10 หน่วยกิต)
1402 302 หลักการก าหนดอาหาร 3(2-2-5)
Principle of Dietetics
1402 303 โภชนบ าบัด 3(2-2-5)
Nutrition Therapy
1402 305 การให้ค าปรึกษาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านโภชนาการ 3(2-2-5)
Diet Counseling and Behavior Modification
1402 309 จรรยาบรรณวิชาชีพนักก าหนดอาหาร 1(1-0-2)
Ethic for Dietitic Professionals
(3) กลุ่มวิจัย (6 หน่วยกิต)
1402 310 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางโภชนาการและการก าหนดอาหาร 3(3-0-6)
Research Methodology in Nutritional and Dietetics
1402 401 สัมมนาปัญหาพิเศษทางโภชนาการและการก าหนดอาหาร 1(1-0-2)
Seminar in Special Problem in Nutritional and Dietetics
1402 402 โครงงานนิสิต 2(2-0-4)
Senior Project
2.5 กลุ่มวิชาฝึกงาน (10 หน่วยกิต)
1499 310 การฝึกภาคสนามร่วมด้านสาธารณสุขชุมชน 1(150)
Community Health Field Practicum
1402 403 ฝึกประสบการณ์ด้านโภชนาการชุมชนและโภชนบริการ 3(0-24-0)
Professional Practicum in Community Nutrition
and Food Services
1402 404 ฝึกประสบการณ์ด้านโภชนาการคลินิกและการก าหนดอาหาร 6(0-36-0)
Professional Practicum in Clinical Nutrition and Dietetics
- หมวดวิชาเลือกเสรี เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
โดยเลือกเรียนจากรายวิชาใดๆ ตามที่ มหาวิทยาลัยหรือกำหนดหลักสูตรฯ ดังต่อไปนี้
1402 320 เภสัชวิทยาและพิษวิทยาทางอาหาร 2(2-0-4)
Pharmacology and Food Toxicology
1402 321 การใช้โปรแกรมส าเร็จรูปในงานโภชนาการและการก าหนดอาหาร 2(1-2-3)
Application of Computer Programs in Nutritional
and Dietetics
1402 322 มานุษยวิทยาทางโภชนาการและความมั่นคงในอาหาร 2(2-0-4)
Nutrition Anthropology and Food Security
1402 323 การพัฒนาระบบโภชนบริการและมาตรฐานคุณภาพ 2(1-2-3)
Development of Food Service System
and Standard Quality
1402 324 โภชนบำบัดและการกำหนดอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไต 2(1-2-3)
Nutritional Therapy and Dietetic for Kidney Disease
Patients
1402 325 โภชนบำบัดและการกำหนดอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง 2(1-2-3)
Nutritional Therapy and Dietetic for Cancer Patients
1402 326 โภชนบำบัดและการกำหนดอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคความผิดปกติ 2(1-2-3)
ของกระบวนการเมตาบอลิซึม
Nutritional Therapy and Dietetic for Patients with Metabolic
Syndromes
1402 327 โภชนบ าบัดและการก าหนดอาหารส าหรับผู้ป่วยโรคติดเชื้อ 2(1-2-3)
Nutritional Therapy and Dietetic for Infectious Diseases
1402 328 การประกอบอาหารขั้นพื้นฐาน 2(1-2-3)
Basic Culinary
1402 329 การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพทางอาหาร 2(1-2-3)
Food Quality Control and Assurance
1402 330 การผลิตและการดัดแปลงสูตรอาหาร 2(1-2-3)
Production and Modification of Diets
1402 331 การประกอบธุรกิจผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพและบริการ 2(2-0-4)
Entrepreneurship in Health Care Products and Services
1402 332 อาหารเพื่อสุขภาพ 2(2-0-4)
Food for Health
1402 333 วิศวกรรมอาหารและการแปรรูปอาหารขั้นพื้นฐาน 2(1-2-3)
Basic Food Engineering and Food Processing
1402 334 การประเมินทางประสาทสัมผัสส าหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางโภชนาการ 2(1-2-3)
Sensory Evaluation for Nutritional Product Development
1402 335 โภชนาการและนักกีฬา 2(2-0-4)
Nutrition and Athletes
1402 336 การจัดการด้านอาหารและโภชนาการในผู้สูงอายุ 2(2-0-4)
Food and Nutrition Management in the Elderly
1402 337 โภชนบ าบัดทางการแพทย์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 2(2-0-4)
Medical Nutrition Therapy in Mental Health and Psychiatric